สร้างเครื่องรับวิทยุแบบ Direct Conversion
สร้างเครื่องรับวิทยุเพื่อรับฟังรหัสมอร์สของนักวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง สร้างง่าย ราคาถูก เหมาะกับผู้เริ่มต้น โดย HS8JYX
Friday, October 26, 2012
Saturday, October 8, 2011
การป้องกันการต่อไฟผิดขั้ว
เนื่องจากวงจร ไม่ได้ใส่อุปกรณ์ป้องกันการผิดขั้วเอาไว้ เวลาเราใช้งาน ถ้าเราไม่ระมัดระวัง เครื่องรับอาจจะเสียหายได้ ถ้าให้เกิดความสมายใจควรต่อ ไดโอด เพื่อป้องการการต่อไฟผิดขั้วเอาไว้ ดังรูปครับ (ต่อให้สวย เป็นระเบียบกว่าในรูปนะครับ)
ไดโอดสามารถใช้เบอร์ 1N4001 หรือเทียบเท่าได้เลยครับ
ไดโอดสามารถใช้เบอร์ 1N4001 หรือเทียบเท่าได้เลยครับ
Friday, October 7, 2011
เพิ่มประสิทธิภาพของ NE602 input
กรณีที่เราอยู่ใกล้แหล่งสัญญาณรบกวน วงจรกรองแบบธรรมดาอาจจะไม่สามารถกรองสัญญาณได้ดีพอ ให้ลองวงจรแบบ
T1 เป็นหม้อแปลง IF สีเขียวของวิทยุ FM เอา C ภายในออก
C ค่า 27 pF สำหรับ 14 MHz
เพิ่มโวลลุ่มปรับ gain เข้าไป
ผลงานการดัดแปลงโดย HS8FLU ได้ผลการรับดีกว่าเดิม สัญญาณรบกวนน้อยมาก
T1 เป็นหม้อแปลง IF สีเขียวของวิทยุ FM เอา C ภายในออก
C ค่า 27 pF สำหรับ 14 MHz
เพิ่มโวลลุ่มปรับ gain เข้าไป
ผลงานการดัดแปลงโดย HS8FLU ได้ผลการรับดีกว่าเดิม สัญญาณรบกวนน้อยมาก
Wednesday, September 14, 2011
เครื่องรับแบบ direct conversion หรือ DC- Receiver
เครื่องรับแบบ direct conversion นิยมใช้กับเครื่องรับวิทยุ QRP ราคาถูก โดยทั่วไป เนื่องจากสร้างง่าย วงจรไม่ยุ่งยาก สัญญาญที่ออกมาจากวงจร Mixer แทนที่จะเป็นความถี่ปานกลางแบบระบบ Superheterodyne กลับกลายเป็นความถี่เสียงเลย วงจรแบบนี้เหมาะมากสำหรับนักวิทยุสมัครเล่นมือใหม่ครับ
สำหรับวงจรตัวอย่างเครื่องรับแบบ DC เราจะใช้ IC เบอร์ NE602 เป็นภาครับ การประกอบวงจรจะประกอบแบบ manhattan ซึ่งเป็นที่นิยมของนักวิทยุสมัครเล่นที่ชอบทดลอง ไม่มีการกัดพริ้น เรานำแผ่นพริ้นอีกส่วนตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ มาทำเป็นแท่นสำหรับยึดอุปกรณ์ดังรูปครับ
จัดทำโดย HS8JYX http://www.facebook.com/hs8jyx
สำหรับวงจรตัวอย่างเครื่องรับแบบ DC เราจะใช้ IC เบอร์ NE602 เป็นภาครับ การประกอบวงจรจะประกอบแบบ manhattan ซึ่งเป็นที่นิยมของนักวิทยุสมัครเล่นที่ชอบทดลอง ไม่มีการกัดพริ้น เรานำแผ่นพริ้นอีกส่วนตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ มาทำเป็นแท่นสำหรับยึดอุปกรณ์ดังรูปครับ
จัดทำโดย HS8JYX http://www.facebook.com/hs8jyx
Subscribe to:
Posts (Atom)